โครงการอวกาศโซเวียตรายการของโครงการและความสำเร็จโครงการทั้งหมดที่สมบรูณ์ joker123 สปุตนิก (1956–1959)เป็นโครงการอวกาศแรกของโซเวียต แบ่งเป็นการพัฒนาดาวเทียมสปุตนิก 1 และสปุตนิก 3 และการทดลองหาผลกระทบของการบินอวกาศที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและการพัฒนาระบบยังชีพในยานอวกาศ สปุตนิก 2 สปุตนิก 4 สปุตนิก 5ลูนา (1959–1976)เป็นโครงการสำรวจดวงจันทร์ของโซเวียต […]
โครงการอวกาศโซเวียตการแข่งขันภายในทางฝั่งสหรัฐฯ แม้จะมีความสำเร็จของ สปุตนิก ระหว่างปี ค.ศ. 1957–1961 และ วอสตอค ระหว่างปี ค.ศ. 1961–1964 ของโซเวียตก็ไม่สามรถทำลายความตั้งใจของสหรัฐฯได้ และยังทำให้เกิดความสามัคคีในภายทำให้เกิดองค์การนาซาขึ้นมา ทำให้สามารถไล่ตามทันเทคโนโลยีอวกาศโซเวียตได้ ผิดกับโซเวียตที่เริ่มมีการแข่งขันในการออกแบบหลายกลุ่มนำโดย เซอร์ไก […]
การสำรวจอวกาศการสำรวจอวกาศ คือการใช้วิทยาการด้านดาราศาสตร์และอวกาศเพื่อสำรวจและศึกษาห้วงอวกาศภายนอก การศึกษาอวกาศในทางกายภาพสามารถทำได้ทั้งโดยยานอวกาศที่ควบคุมโดยมนุษย์หรือโดยหุ่นยนต์การเฝ้าสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า หรือที่เรียกว่าวิชาดาราศาสตร์ ได้กระทำกันมานานดังปรากฏในบันทึกประวัติศาสตร์ ทว่าการใช้จรวดเชื้อเพลิงเหลวขนาดใหญ่ที่เริ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำให้การสำรวจอวกาศในทางกายภาพมีความเป็นจริงเป็นจังมากขึ้น ความก้าวหน้าในการสำรวจอวกาศเป็นผลจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ล้ำยุครวมถึงการร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อความอยู่รอดในอนาคตของมนุษย์ชาติ ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างประโยชน์ในทางทหารหรือทางกลยุทธ์ที่เหนือกว่าประเทศอื่นๆ ในบางครั้งจึงมีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงประโยชน์ของการสำรวจอวกาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นเรื่องค่าใช้จ่ายและความปลอดภัย joker123 ครั้งหนึ่งการสำรวจอวกาศเป็นประเด็นการแข่งขันที่สำคัญระหว่างขั้วอำนาจ เช่นในระหว่างสงครามเย็น การสำรวจอวกาศยุคใหม่ช่วงแรกเป็นการแข่งขันกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับสหรัฐอเมริกา […]
ยานอวกาศ หมายถึงยานอวกาศ (อังกฤษ: spacecraft) คือยานพาหนะ ยานหรือเครื่องยนต์ที่ออกแบบมาเพื่อบินไปในอวกาศ ยานอวกาศถูกนำมาใช้สำหรับวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย รวมถึงการสื่อสารโทรคมนาคม การสังเกตโลก การอุตุนิยมวิทยา การนำทาง การสำรวจดาวเคราะห์และการขนส่งมนุษย์และสินค้า joker123 ในการบินในอวกาศแบบวงโคจรย่อย ยานอวกาศเข้าสู่อวกาศด้านนอก จากนั้นก็กลับมายังพื้นผิวโลกโดยไม่ได้ขึ้นไปสู่วงโคจรหลัก. […]
ยานอวกาศที่มีมนุษย์นอวกาศในอดีตและปัจจุบันณ ปี 2011, มีเพียงสามประเทศเท่านั้นที่ทำการบินด้วยยานอวกาศที่มีมนุษย์ ได้แก่ USSR/รัสเซีย, สหรัฐอเมริกาและจีน. อินเดีย, ญี่ปุ่น, ยุโรป/อีเอสเอ, อิหร่าน, เกาหลีใต้, เกาหลีเหนือ, เดนมาร์กและโรมาเนียมีแค่แผนสำหรับยานอวกาศที่มีมนุษย์ (จรวด suborbital […]
กระสวยอวกาศกระสวยอวกาศ (อังกฤษ: space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American […]
ความหมาย จรวดจรวด หมายถึง ขีปนาวุธ, ยานอวกาศ, เครื่องบิน หรือพาหนะอื่นใดที่อาศัยแรงผลักดันของไอเสียที่มีต่อตัวจรวดในการพุ่งไปข้างหน้า โดยใช้การเผาผลาญเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์จรวด ในจรวดทุกชนิดไอเสียจะเกิดขึ้นทั้งหมดจากเชื้อเพลิงขับดันที่บรรทุกไปด้วยภายในจรวดก่อนที่จะถูกใช้งาน จรวดเคมีสร้างพลังงานจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงจรวด ผลจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงและตัวอ๊อกซิไดซ์ภายในห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซร้อนที่มีอุณหภูมิสูงมากและขยายตัวออกไปทางหัวฉีดทำให้ก๊าซเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในระดับไฮเปอร์โซนิก ซึ่งทำให้เกิดแรงผลักมหาศาลต่อตัวจรวดตามกฎข้อที่สามของนิวตัน (แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา)โดยในทางทหารและสันทนาการมีประวัติของการใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือในช่วงเวลานั้น joker123 จรวดได้ถูกใช้สำหรับงานทางทหารและสันทนาการ ย้อนกลับไปอย่างน้อยศตวรรษที่ […]
การออกแบบจรวดการออกแบบสร้างจรวดสามารถทำได้ง่ายเพียงใช้หลอดกระดาษแข็งที่เต็มไปด้วยผงสีดำ (ดินปืน) แต่เพื่อให้มีประสิทธิภาพ การออกแบบจรวดหรือขีปนาวุธที่ถูกต้องเกี่ยวข้องกับการเอาชนะจำนวนของปัญหาที่ยุ่งยาก ความยากลำบากที่สำคัญ ได้แก่ การระบายความร้อนในห้องเผาไหม้, ปั๊มเชื้อเพลิง (ในกรณีของเชื้อเพลิงเหลว), การควบคุมและแก้ไขทิศทางของการเคลื่อนที่ joker123 ส่วนประกอบจรวดประกอบไปด้วยเชื้อเพลิงจรวด, ที่บรรจุเชื้อเพลิงจรวด (เช่นถังเชื้อเพลิงจรวด) และหัวฉีด จรวดยังอาจจะมีเครื่องยนต์จรวดหนึ่งเครื่องหรือมากกว่า, […]
ฟิสิกส์ของจรวดแรงที่เกิดขึ้นกับจรวดการศึกษาโดยทั่วไปของแรงที่เกิดกับจรวดหรืออวกาศยานอื่น ๆ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาถึงการเคลื่อนที่ของกระสุนปืนและจรวดหรือขีปนาวุธ (ballistics) และถูกเรียกว่าดาราพลศาสตร์ (astrodynamics)ในการเคลื่อนที่ของจรวดจะได้รับผลกระทบหลักดังต่อไปนี้:แรงขับดัน (Thrust) จากเครื่องยนต์จรวดความโน้มถ่วงจากวัตถุทางดาราศาสตร์แรงต้าน (Drag) ถ้าจรวดกำลังเคลื่อนที่ในชั้นบรรยากาศแรงยกทางอากาศพลศาสตร์ (Lift); มักจะมีผลกระทบที่ค่อนข้างเล็กน้อยยกเว้นเครื่องบินขับเคลื่อนด้วยพลังจรวด joker123 นอกจากนี้ แรงเฉื่อยและแรงสู่ศูนย์กลางเทียม (inertia […]
การใช้ประโยชน์จรวดจรวดหรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่คล้ายคลึงกันกับอุปกรณ์ที่อาศัยแรงปฏิกิริยาจะต้องบรรทุกนำพาเอาเชื้อเพลิงจรวดของตัวเองที่จำเป็นจะต้องใช้เพื่อการนี้ติดไปด้วยเมื่อไม่มีสารเคมีอื่น ๆ (ไม่ว่าทางบก, ทางน้ำ หรือ ทางอากาศ) หรืออาศัยแรง (เช่น แรงโน้มถ่วง, อำนาจแม่เหล็ก, แสง) ที่ยานพาหนะอาจจำเป็นจะต้องใช้เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับการขับเคลื่อน, เช่น ในอวกาศ […]
Recent Comments