อ่างเก็บน้ำ อ่างเก็บน้ำ (อังกฤษ: reservoir) หมายถึง ทะเลสาบที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อเก็บน้ำสำหรับการใช้ในหลากหลายจุดประสงค์ อ่างเก็บน้ำถูกสร้างขึ้นจากคอนกรีต ดิน หิน สิงที่อยู่รอบๆ แม่น้ำหรือลำธาร เพื่อเป็นเขื่อนที่แข็งแรง เมื่อเขื่อนสร้างเสร็จสมบูรณ์ กระแสน้ำจะเติมเต็มเขื่อน เขื่อนซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยมนุษย์ […]
ป่าชายเลนป่าชายเลนเป็นกลุ่มสังคมพืชซึ่งขึ้นอยู่ในเขตน้ำลงต่ำสุดและน้ำขึ้นสูงสุด บริเวณตีนเขา อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง สังคมพืชที่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิดหลายตระกูล และเป็นพวกที่มีใบเขียวตลอดปี (evergreen species) ซึ่งมีลักษณะทางสรีรวิทยาและความต้องการสิ่งแวดล้อมที่คล้ายกัน ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้สกุลโกงกาง (Rhizophora spp.) เป็นไม้สำคัญและมีไม้ตระกูลอื่นบ้างได้มีการค้นพบป่าประเภทนี้มาตั้งแต่เมื่อโคลัมบัส เดินทางมาบริเวณชายฝั่งตะวันตกของเกาะคิวบา ต่อมา เซอร์ […]
ป่าชายเลนในประเทศไทย ป่าชายเลนเป็นระบบนิเวศที่ประกอบด้วยพืชและสัตว์นานาชนิด ดำรงชีวิตร่วมกันในสภาพแวดล้อมที่เป็นดินเลน น้ำกร่อย หรือมีน้ำทะเลท่วมถึงสม่ำเสมอ พบทั่วไปตามที่ราบปากแม่น้ำ อ่าว บริเวณชายฝั่งทะเลในเขตน้ำขึ้นน้ำลง ทะเลสาบ และบริเวณรอบเกาะแก่งต่างๆ joker123 ป่าชายเลนประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิดหลายตระกูล และเป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบ (evergreen species) ซึ่งมีลักษณะทางสรีรวิทยาและความต้องการสิ่งแวดล้อมที่คล้ายกัน […]
ธารน้ำแข็งธารน้ำแข็ง (อังกฤษ: glacier) ธารน้ำแข็งเกิดจากการที่หิมะตกลงมาแล้วสะสมกันจนหนา 45-60 เมตร แล้วเกิดการเคลื่อนตัวลงมาอย่างช้า ๆ ซึ่งมักจะเกิดบริเวณที่ลาดชันหรือตามไหล่เขา การเคลื่อนตัวลงมาตามไหล่เขาอย่างช้า ๆ ทำให้เกิดการสึกกร่อนลึกลงไปเพราะความหนักของหิมะที่สะสมกันจนเป็นน้ำแข็ง ธารน้ำแข็งที่เคลื่อนตัวไปในหุบเขาจะทำให้พื้นดินที่รองรับเกิดร่องลึกและกว้างเพราะมีน้ำหนักของน้ำแข็งกดทับ ธารน้ำแข็งจะค่อย ๆ ครูดบริเวณที่รองรับจนเกิดหุบเขาตัดขวางรูปตัวยู […]
พืดน้ำแข็ง พืดน้ำแข็ง (อังกฤษ: Ice sheet) หรือเรียกอีกอย่างว่าธารน้ำแข็งภาคพื้นทวีป (อังกฤษ: continental glacier) เป็นมวลของธารน้ำแข็งที่ปกคลุมภูมิประเทศโดยรอบและมีขนาดมากกว่า 50,000 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันพืดน้ำแข็งสามารถพบได้เพียงในกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกา ช่วงยุคน้ำแข็งยุคสุดท้ายในยุคน้ำแข็งใหญ่สุดครั้งสุดท้ายพืดน้ำแข็งลอเรนไทด์ได้ปกคลุมพื้นที่จำนวนมากของทวีปอเมริกาเหนือ พืดน้ำแข็งไวช์เซเลียนปกคลุมทางเหนือของทวีปยุโรปและพืดน้ำแข็งปาตาโกเนียปกคลุมทางใต้ของทวีปอเมริกาใต้joker123พืดน้ำแข็งนั้นมีขนาดใหญ่กว่าหิ้งน้ำแข็งและธารน้ำแข็งแบบแอลป์ มวลของน้ำแข็งที่ปกคลุมพื้นที่น้อยกว่า […]
กรีนแลนด์ กรีนแลนด์ (กรีนแลนด์: Kalaallit Nunaat; เดนมาร์ก: Grønland เกฺรินลันฺด) เป็นดินแดนทางเหนือสุดของโลก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอาร์กติกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ประมาณ 2,175,900 ตารางกิโลเมตร มีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของประเทศเดนมาร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ. […]
ผลึก ผลึก (อังกฤษ: crystal) เป็นของแข็งที่มีองค์ประกอบเป็นอะตอม โมเลกุล หรือ ไอออน ซึ่งอยู่รวมกันอย่างมีระเบียบ เป็นรูปแบบที่ซ้ำกันและแผ่ขยายออกไปในเนื้อที่สามมิติ โดยทั่วไปสสารที่เป็น ของเหลว จะเกิดผลึกได้เมื่ออยู่ภายใต้กระบวนการโซลิดิฟิเคชัน (solidification) ภายใต้สภาวะที่สมบูรณ์ผลที่ได้จะเป็น ผลึกเดี่ยว […]
เทคโนโลยีนิวเคลียร์เทคโนโลยีนิวเคลียร์ (อังกฤษ: Nuclear technology) เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาของนิวเคลียสของอะตอม ท่ามกลางเทคโนโลยีนิวเคลียร์ที่โดดเด่น การนำไปประยุกต์ใช้จะได้แก่ เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์สำหรับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์, เวชศาสตร์นิวเคลียร์เพื่อการรักษาทางการแพทย์และอาวุธนิวเคลียร์ที่ใช้ในสงคราม มีการนำเทคโนโลยีนิวเคลียร์ไปประยุกต์ใช้อย่างหลากหลายทั้งในด้านการถนอมอาหาร, การเกษตร และการอุตสาหกรรม ประโยขน์ของเทคโนโลยีนิวเคลียร์มีอยู่อย่างหลากหลายแต่โทษของมันก็มีมากเช่นกัน joker123 ประวัติความเป็นมาและภูมิหลังทางวิทยาศาสตร์ปรากฏการณ์ธรรมชาติส่วนใหญ่ที่พบบนโลกมีส่วนเกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วงและแม่เหล็กไฟฟ้าเท่านั้น, ไม่ใช่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์. […]
เทคโนโลยีนิวเคลียร์ การใช้ทางพลเรือน พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์เป็นประเภทหนึ่งของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้แบบควบคุมของนิวเคลียร์ที่จะปล่อยพลังงานสำหรับการทำงานที่รวมถึงแรงขับดัน, ความร้อน, และการผลิตกระแสไฟฟ้า. พลังงานนิวเคลียร์ถูกผลิตโดยปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ที่ถูกควบคุมซึ่งจะสร้างความร้อนที่ใช้ในการต้มน้ำ, ผลิตไอน้ำ, และขับกังหันไอน้ำ. กังหันถูกใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าและ/หรือในการทำงานทางกล. ปัจจุบันพลังงานนิวเคลียร์มีประมาณ 15.7% ของการผลิตไฟฟ้าของโลก (ในปี 2004) และถูกใช้ในการขับเคลื่อนเรือบรรทุกเครื่องบิน, […]
พลังงานความร้อนใต้พิภพประวัติพลังงานความร้อนใต้พิภพ คือ พลังงานความร้อนที่เก็บกักอยู่ใต้ผิวโลกโดยความร้อนที่เกิดขึ้นภายในโลกส่วนใหญ่เกิดจากการสลายตัวของสารกัมมันตภาพรังสีที่มีเวลาครึ่งชีวิตยาวเช่น ยูเรเนียม ทอเรียม และโพแทสเซียม ที่สะสมในเปลือกโลก อุณหภูมิใต้ผิวโลกจะเพิ่มขึ้นตามความลึกกล่าวคือยิ่งลึกลงไปอุณภูมิยิ่งสูงขึ้น พลังงานความร้อนใต้พิภพที่สะสมอยู่ใต้เปลือกโลกมีค่ามหาศาล แต่มีส่วนน้อยเท่านั้นที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ด้วยเทคโนโลยีที่มีในปัจจุบัน เพราะระดับความลึกที่สุดที่สามารถเจาะลงไปใต้ผิวโลกได้ ประมาณ 10 กิโลเมตรเท่านั้น พลังงานความร้อนที่สะสมใต้ผิวโลก ที่ระดับความลึก […]
Recent Comments