ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ (อังกฤษ: biodiversity) หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตน้อยนิด พันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือง่าย ๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์ (species) สายพันธุ์ (genetics) และระบบนิเวศ (ecosystem) […]
การกัดกร่อนโดยคลื่นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการกัดกร่อนชายฝั่งก็คือ การกระทำของคลื่น (Wave activity) แรงปะทะของคลื่นอาจรุนแรงมากกว่าแรงขับเคลื่อนของน้ำในมหาสมุทรมาก และเมื่อคลื่นเข้าปะทะชายฝั่งอาจพัดพาเอากรวดขนาดใหญ่มาด้วย ทำให้ชายฝั่งบริเวณนั้นพังทลายหรือเปลี่ยนรูปร่างไปได้ การผุพังดังกล่าวมักเกิดควบคู่ไปกับการผุพังทางเคมี การผุพังทางเคมีจะช่วยทำให้รอยแตกนั้นขยายใหญ่ขึ้นเมื่อถูกคลื่นปะทะอยู่เป็นเวลานาน ๆ จากรอยแตกกลายเป็นโพรงขนาดเล็ก (sea notch) และกลายเป็นถ้ำ (sea cave) […]
การกำเนิดของสิ่งมีชีวิตเมื่อโลกของเราได้ถือกำเนิดขึ้นมาแล้วหลายล้ายปี ต่อจากนั้นต่อจากนั้นจึงมีการเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลาจึงมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมให้สิ่งมีชีวิตในยุคแรกได้พัฒนาตัวจากสารอนินทรีย์เป็นสัตว์เซลล์เดียว แต่ข้อสันนิฐานต่างไม่สามารถที่จะสรุปได้ 100% ว่าสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้อย่างไรตามแต่ละยุคก็จะมีนักวิทยาศาสตร์ได้เสนอแนวความคิดของตนตามที่ได้รับหลักฐานต่างๆมาประกอบกันโดยมีข้อสรุปเกี่ยวกับการกำเนิดของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ 3 ข้อคือ joker123 1.เกิดขึ้นเองจากสิ่งมีชีวิต เป็นข้อสันนิฐานที่ได้คิดมาในอันดับแรกของนักวิทยาศาสตร์ว่าสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตด้วยกันเองโดยการสังเกตจากการกำเนิดของสิ่งมีชีวิตต่างๆ หากไม่มีสิ่งมีชีวิตอยู่แล้วก็ไม่สามารถที่จะมีสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ในช่วงนั้นเอง หลุยส์ ปาสเตอร์ ได้ทำการทดลองตรวจสอบจากการหมักไวท์ หากไม่มีจุรินทรีย์อยู่ในนั้นแล้วก็ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ถือได้ว่าเป็นการอธิบายจากการทดลองเป็นช่วงแรก2.เกิดจากนอกโลก […]
สิ่งมีชีวิต (Living things) และสิ่งไม่มีชีวิต (Non-Living things)รอบตัวเรามีสิ่งต่างๆ มากมาย มีรูปร่างลักษณะและที่อยู่แตกต่างกัน เช่น คน พืช สัตว์ สิ่งของ เก้าอี้ ดินสอ ยางลบ […]
Recent Comments